วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

กิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมาย

กิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมาย


สัปดาห์ที่ 1  ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารจัดการจัดการระบบงาน ECT มอบหมายงาน
ให้ไปศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 2 ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT (ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ)
สัปดาห์ที่ 3 ฝึกสร้าง Blog
สัปดาห์ที่ 4 ฝึก SWOT Analysis และสร้าง Mind Map
สัปดาห์ที่ 5 นำเสนอผลการ SWOT และบรรยาย การบริหารและการจัดการ ECT
สัปดาห์ที่ 6 แจ้งชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่จะไปศึกษาดูงาน และประสานทำหนังสือออกจากภาควิชา กรณีที่ได้รับการตอบรับแล้ว
สัปดาห์ที่ 7 ฝึกเขียนโครงการ เช่น โครงการพัฒนา Smart Classroom และฝึกเขียน Gantt Chart
สัปดาห์ที่ 7-12  สร้างแบบสัมภาษณ์/แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง และต้องไปศึกษาดูงานมาเรียบร้อยแล้ว
สัปดาห์ที่ 9 สอบ Midterm
สัปดาห์ที่ 14 การศึกษาดูงานตามหลักการ POSCoRB จัดทำสื่อนำเสนอ และจัดทำรูปเล่มรายงาน
สัปดาห์ที่ 15 นำเสนอกรณีศึกษา ดูงาน และสอบ Final
หมายเหตุ: สามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม

โรงเรียนวัดคานหาม



โรงเรียนวัดคานหาม

วิสัยทัศน์ (VISION) โรงเรียนวัดคานหาม
            โรงเรียนวัดคานหามจัดการศึกษามุ่งเน้นคุณธรรม นำหน้าวิชาการ  สืบสานดนตรีไทย ยิ้มไหว้ทักทายกัน ก้าวทันเทคโนโลยี  สรรค์สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยชุมชนมีส่วนร่วม
ปรัชญา           “คุณธรรมนำความรู้       เชิดชูภูมิปัญญาไทย
                    ก้าวไกลวิชาการ          ประสานชุมชน”
พันธกิจ
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
2.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรสถานศึกษา
3.  ส่งเสริมครูให้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.  สร้างเสริมบรรยากาศภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้
5.  ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
6.  พัฒนาการจัดองค์กร โครงสร้างการบริหารโรงเรียนครบวงจร

SWOT Analysis

จุดแข็ง (S) 

- บุคลากรสามารถใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนได
- มีระบบเครือขายอินเตอรเน็ตครอบคลุมทั้งโรงเรียนใหใชอยางทั่วถึง
- โรงเรียนสนับสนุนใหบุคลากรมีการพัฒนาตนเองดานเทคโนโลยีอยางสม่ําเสมอ
จุดออน (W)
- ไมนําเทคโนโลยีมาใชใหเกิดประโยชน มีการใชงานที่ผิดประเภท
- เมื่อมีผูใชงานพรอมกันจํานวนมาก ทําใหระบบอินเตอรเน็ตมีประสิทธิภาพต่ํา

โอกาส (O) 
- สพฐ. ใหการสนับสนุนโรงเรียนดานการฝกอบรมทางเทคโนโลยี
- สพฐ. เนนการพัฒนาใหโรงเรียนใชสื่อดานเทคโนโลยีในการเรียนการสอน
อุปสรรค (T)
- สภาพหองเรียนบางหองไมเอื้อตอการใชเทคโนโลยี
- เมื่ออุปกรณทางเทคโนโลยีเกิดการชํารุด มีการแกไข ซอมแซมลาชา
- เมื่อสภาพอากาศไมเอื้ออํานวย เชน ฝนตกหนัก ทําให ระบบอินเตอรเน็ตใชงานไมได

วันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

สรุปสิ่งที่ได้จากนำเสนองานกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 ศึกษาดูงาน สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
                 เป็นหน่วยงานที่มีการเรียนการสอนผ่านทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นหลัก ปัจจุบันมีการพัฒนาให้ทันสมัยทันเหตุการณ์มากขึ้น แต่ระบบการบริหารงานส่วนใหญ่เป็นไปตามระบบราชการ  รายได้ส่วนใหญ่มากจากค่าบำรุงการศึกษา ลงทะเบียนนิสิตเป็นต้น มีการนำSWOT เขาไปจับ S-บุคลากรมีความรู้มีเครื่องมือทันสมัย W ล่าช้า มีช่องว่างทางความคิดของบุคลากร O มีการสนับสนุนจากรัฐ การเติบโตของอินเทอร์เน็ตทำให้ทำงานง่ายและเร็วขึ้น T พฤติกรรมการเรียนการสอนมีการเรียนทางไกลมากขึ้น 

กลุ่มที่ 2 ศึกษาดูงาน ศูนย์พัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี สำนักงานวิทยากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(กลุ่มของตนเอง) 
             สำนักสื่อและเทคโนโลยีการศึกษามีงบปรระมาณการบริหารจำนวนมาก เพราะมีรายได้มาจากค่าปรับ ค่าเช่าร้าน เงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย ทำให้มีการจัดซื้อใหม่ทุกๆ5ปี การทำงานเน้นเทคโนโลยี ใช้คนในการทำงานน้อย ีการประเมินแบบ 3 ระยะ ใช้ ADDIE Modelในการบริหาร

กลุ่มที่ 3 ศึกษาดูงาน สำนักสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ
                 มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการทำงานร่วมกับองค์กรภายนอก พัฒนาบุคลากรตามที่บุคลากรสนใจ

กลุ่มที่ 4 : ศึกษาดูงาน หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล 
              มีการจัดโครงสร้างการบริหารที่ดี มีความพร้อมในการบริการ
กลุ่มที่ 5 ศึกษาดูงาน หอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตร
                    หอสมุดมหาวิทยาลัย มีการจัดวางระบบที่ทันสมัย มีอุปกรณ์และห้องอ่านหนังสืออย่างพอเพียง มีการผลิตสื่อการศึกษาอยู่สม่ำเสมอ แต่บุคลากรมีภาระงานซ้ำซ้อน เนื่องจากเจ้าหน้าที่มีจำกัด

 กลุ่มที่ 6 และ 8 ศึกษาดูงาน ETV
                     มีการพัฒนาระบบให้ทันสมัย สามารถศึกษาออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา  เนื้อหามีความหลากหลาย สามารถนำไปประกอบอาชชีพได้ แต่งบประมาณยังน้อยและระบบราชการทำให้ล่าช้า

กลุ่มที่ 7 ศึกษาดูงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกำลังคนอาชีวศึกษา
                      ให้บริการด้านข้อมูลสารสนเทศ  สนับสนุนการจัดการเรียนรู้เป็นศูนย์การเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา

กลุ่มที่ 9 ศึกษาดูงาน TK PARK
                มีการพัฒนาโดยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อาคารสถานที่แปลกใหม่ น่าสนใจ มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

บทความ


(คลิกเพื่อดูบทความฉบับเต็ม)

a School of Social Sciences, University of Cardiff, Cardiff CF10 2WT, UK b School of Distance Education, Universiti Sains Malaysia, Minden 18000, Pulau Pinang, Malaysia
Abstract
The impact of Information and Communication Technology (ICT) on the management practices in the Malaysian Smart Schools was investigated. The analysis revealed that the impact has resulted in changes that include the enrich- ment of the ICT culture among students and teachers, more efficient student and teacher administration, better accessi- bility to information and a higher utilisation of school resources. This analysis also revealed that time constraints, higher administrative costs, negative acceptance/support from some untrained staff, abuse of the ICT facilities and problems related to the imposed rigid procedural requirements are among the challenges encountered by the schools.  2003 Elsevier Ltd. All rights reserved.
Keywords: Smart schools; School management; ICT; Educational policy
1. Introduction
This article reports on the results of a research, which was carried out as part of a larger study on the impact of information and communication technology (ICT) on the management of residential schools in Malaysia. Since all residential schools had been selected to pilot the Smart Schools pro- ject, it was presumed that the findings from the residential schools would also reflect the findings of Smart Schools. All inferences forwarded in this
The objective of the Smart Schools concept is to help the country achieve the aims of a national philosophy of education, regaining excellence in Malaysian education, as well as foster the develop- ment of a workforce prepared to meet the chal- lenges of the 21st century. Transforming the edu- cational system entails changing the culture and practices of both the primary and secondary schools within the country, moving away from the memory-based rote learning designed for the aver- age students, to an education system that stimulates thinking, creativity and caring. Learning will thus be self-directed, collaborative, individually paced, continuous and reflective, utilising teaching materials that are not only limited to printed books, but also include electronic books, multimedia software, courseware catalogues and databases (Umat, 2000). At the same time, it caters to indi-
vidual differences and learning styles and creates possibilities for an appropriate mix of learning stra- tegies that enables students to achieve basic com- petencies and promote a holistic development. Thus, the learning is designed to be student-centred to assist the students to achieve an overall and bal- anced development within which goals are all aligned (MOE, 1997).
The Smart Schools Pilot Project (SSPP), which began in 1999 and was scheduled for completion in 2002, involved the trial testing of the Smart Schools integrated solution. The solution consists of the following main components (Foong-Mae, 2002) :
2. Methodology
The questionnaire used for this study was the ‘School Management Team Questionnaire’ developed and validated by the authors. It was designed to be answered by the school principals or senior assistants of the schools that participated in the SSPP. The questionnaire consisted of five sections (section A–E ) as follows:
Section A: The current ICT used in the manage- ment of the school Section B: The impact of ICT on the management of the school Section C: The Smart Schools impact on the school management Section D: Respondents’ demographics Section E: The ICT status of the school
Sections A, B and E contained several specific questions, which were each accompanied by a ser- ies of pre-coded responses to be chosen as their possible answers. The respondents were required to choose the ‘yes’ or ‘no’ prompt to indicate their agreement or disagreement to the given answers. Box spaces were also provided for the respondents to provide any additional answers to the given questions. We were of the opinion that the mixture of alternative pre-coded responses and ‘open- ended’ answer boxes for the post-coded responses resulted in an appropriate type of questionnaire because at the time of data collection, the implementation of the Smart Schools programme was still in its infancy. Thus keeping the potential responses as simple as possible might have encour- aged respondents to respond swiftly to the survey. Section C contained two open-ended questions whereas section D contained questions requiring the respondents to detail out their demographic information.
This article only reports on the data obtained in sections B and C of the questionnaire. The ques- tions contained in sections B and C are shown in Appendix A. The data obtained from sections A and E are outside the scope of the study and will accordingly be reported only in further intended articles.
The questionnaires were posted in early
3. Results and discussion
Table 1 shows the responses to questions on the changes due to the ICT implementation at the school. Generally, most of the respondents agreed that the implementation of ICT at their school brought about the positive changes that the technology can provide. The highest percentage was recorded by the enrichment of the ICT culture (100%). The instillation of the ICT culture— changing the perception and mindset among teach- ers—is one of the main challenges outlined by the Ministry of Education (1997). It is encouraging to note that such a shift in culture has already taken place. The teachers who support the ICT culture should have no difficulties in making a progressive adaptation in their style of teaching, which pre- viously was essentially didactic and represented teacher-centred instruction rather than the required collaborative learner-centred approach incorporat- ing the utilisation of ICT. As highlighted by Cloke and Sharif (2001), teachers who have a positive attitude towards ICT will be positively disposed towards using it in the classroom. The instillation of the ICT culture among school administrators has also led to the smooth assimilation and integration of ICT in the school management. Such schools will thus be effectively managed and the Smart Schools concept should be readily adopted.
With the implementation of ICT, schools have greater accessibility to information (96.8%). The inherent characteristics of ICT enable it to support and provide access to the plethora of information available in the Internet. It is, therefore, not sur- prising that the implementation of ICT has led to such an accessibility of information that it can be used to support the teaching and learning pro- cesses. This implementation has also led to the bet- ter utilisation of school resources (96.8%). The Smart Schools concept has created a new learning environment requiring students to actively con- struct their own knowledge through exploratory and inquiry-based learning. School resources such
as the Internet-linked computer laboratory, library and resource room can be highly utilised to meet such requirements as depicted in this finding.

4. Summary
This article highlights several important issues pertaining to the changes and challenges following the implementation of ICT and the introduction of the Smart Schools concept into the existing school system. With the continuous support of the Minis- try of Education and all the relevant parties, this innovative effort has successfully instilled the ICT culture among all parties involved and equipped them with the right skills and mindset to support the Smart Schools concept. The key challenge remains the transformation of the traditional learn- ing environment into a new learning environment that necessitates the teachers to change their teach- ing pedagogy from that of knowledge instruction to knowledge construction. While the Ministry of Education plays a role as architect and promoter of the Smart Schools, the success of its implemen- tation clearly requires commitment at all levels. While the head of each institution at the agency, federal, state, district and school levels is the driver of the implementation, it is also clear that the suc- cess requires the full support of parents and the community.
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT)
ในแนวทางการบริหารจัดการของโรงเรียนสมาร์ทในมาเลเซีย

            บทนำ
            บทความนี้รายงานผลการวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการจัดการโรงเรียนที่อยู่อาศัยในประเทศมาเลเซีย  เนื่องจากโรงเรียนที่อยู่อาศัยในประเทศมาเลเซียทั้งหมดได้รับเลือกให้เป็นผู้ริเริ่มโครงการ  Smart Schools  จึงสันนิษฐานได้ว่าข้อค้นพบจากโรงเรียนที่อยู่อาศัยในมาเลเซียจะสะท้อนถึงผลการวิจัยของโรงเรียนอัจฉริยะ
            การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ถึงขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายที่เกิดขึ้นนับตั้งแต่เริ่มโครงการนำร่องของ Smart Schools ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายที่อธิบายจากการศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับพื้นฐานของแนวทางในการจัดเตรียมแนวทางในการปรับปรุงแนวคิด Smart Schools ในทุกแง่มุม ความหลากหลายของการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นและความท้าทายที่ต้องเผชิญจะต้องได้รับการอธิบายเพื่อให้แน่ใจว่าการดำเนินงานโครงการนำร่องนี้ประสบความสำเร็จจึงเป็นเหตุผลในการดำเนินการวิจัยนี้
            แนวความคิดของ Smart Schools

ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2539 โดยกระทรวงการศึกษาของมาเลเซีย (MOE) เป็นหนึ่งในเจ็ดโครงการที่เป็นเรือธงของมาเลเซียมัลติมีเดียซุปเปอร์ ในช่วงต้นปี 2540 ได้มีการจัดตั้งกองกำลังพิเศษสำหรับโครงการ Smart Schools กลุ่มงานนี้ประกอบด้วยตัวแทนจากภาคเอกชนและ บริษัท พัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
จุดประสงค์ของแนวคิด Smart Schools
คือ การใช้เทคโนโลยีระดับแนวหน้าและการใช้โครงสร้างพื้นฐานของ MSC อย่างรวดเร็วเพื่อเริ่มต้นใช้เทคโนโลยีที่เปิดใช้งานกับโรงเรียน ส่วนเกี่ยวข้องกับ ICT ด้วยเทคโนโลยีที่ช่วยให้วาง ICT ลงในบริบท จากนั้นโรงเรียนกลุ่มนำร่องเก้าสิบคนได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นในปีพ. ศ. 2542 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการเปิดตัวทั่ Smart Schools ทั่วประเทศโดยใช้สื่อการสอนทักษะและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องซึ่งคาดว่าจะมีผลในปีพศ. 2545
วัตถุประสงค์ของแนวคิด Smart Schools
คือ การช่วยให้ประเทศบรรลุเป้าหมายของปรัชญาการศึกษาแห่งชาติการฟื้นคืนความเป็นเลิศในการศึกษาของมาเลเซียรวมถึงการส่งเสริมการพัฒนาแรงงานที่เตรียมพร้อมเพื่อตอบสนองความท้าทายของศตวรรษที่ 21
 การเปลี่ยนระบบการศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและการปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศโดยการย้ายออกไปจากการเรียนรู้แบบในกรอบ ที่ใช้หน่วยความจำสำหรับนักเรียนระดับกลางไปสู่ระบบการศึกษาที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ และสะท้อนการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ไม่จำกัด เฉพาะหนังสือที่พิมพ์ แต่รวมถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ซอฟต์แวร์มัลติมีเดียแคตตาล็อกและฐานข้อมูลบทเรียน

ในขณะเดียวกันก็ให้ความสำคัญกับความแตกต่างและรูปแบบการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดความแตกต่างและสร้างความเป็นไปได้ในการผสมผสานของการเรียนรู้ที่เหมาะสมซึ่งทำให้นักเรียนสามารถบรรลุความสามารถขั้นพื้นฐานและส่งเสริมการพัฒนาแบบองค์รวม ดังนั้นการเรียนรู้จึงได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เป็นศูนย์กลางของนักเรียนเพื่อช่วยให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาโดยรวม
 เนื้อหาหลักสูตรการเรียนการสอนบนเบราเซอร์ (และเอกสารที่เกี่ยวข้อง) สำหรับภาษามาเลย์ภาษาอังกฤษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระบบการจัดการโรงเรียนอัจฉริยะแบบสมาร์ท โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสมาร์ทที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์ที่ไม่ใช่ไอที Local Area Networks สำหรับโรงเรียนนำร่องและเครือข่ายส่วนตัวเสมือนที่เชื่อมต่อโรงเรียนนำร่องกับศูนย์ข้อมูล
ประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องและทักษะ ICT ที่เหมาะสมที่จะใช้เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าความสำเร็จในการใช้แนวคิด Smart Schools เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ความรู้วัสดุทรัพยากรเครื่องมือและทักษะในการออกแบบการผลิตและการใช้ผลิตภัณฑ์โครงสร้างทางกายภาพและระบบเพื่อขยายขีดความสามารถของมนุษย์ในการควบคุมและแก้ไขสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น  ดังนั้น จึงจำเป็นสำหรับครูที่ได้รับการฝึกฝนอย่างมืออาชีพในด้านความรู้ทักษะและความเข้าใจที่จำเป็นในการทำให้พวกเขาสามารถบรรลุบทบาทในการตั้งค่าห้องเรียน ICT ทักษะพื้นฐานห้าอย่าง คือ ทักษะการเรียนรู้การคิดสร้างสรรค์และความคิดเชิงวิพากษ์การอำนวยความสะดวกการประเมินผล / การประเมินผลและการมีส่วนร่วมทางเทคโนโลยีเป็นสิ่งจำเป็นเพื่ออำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ในห้องเรียนของโรงเรียนอัจฉริยะ
เทคโนโลยีโดยเฉพาะ ICT เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการเปลี่ยนโรงเรียนแบบดั้งเดิมให้เป็น Smart Schools กล่าวได้ว่าเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับความสำเร็จของแนวคิด Smart Schools หลักสูตรมัลติมีเดียสิ่งอำนวยความสะดวกในการนำเสนอและอีเมลจะต้องใช้ในการตั้งค่าห้องเรียนในขณะที่ศูนย์ห้องสมุด / สื่อและห้องแล็บคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่จะอำนวยความสะดวกในการเรียนการสอนเทคโนโลยีจำเป็นต้องมีเพื่อสร้างสะพานเชื่อมระหว่างครูนักเรียนผู้ปกครองและชุมชน จะทำให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพและง่ายขึ้นในหมู่นักเรียนครูและผู้ปกครอง นอกเหนือจากการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในห้องเรียนแล้วยังต้องมีการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมความสามารถในการเรียนรู้และความสามารถระดับมืออาชีพ แต่ยังรวมถึงการสนับสนุนด้านเทคนิคการบำรุงรักษาสถานที่การบัญชีและการสนับสนุนเงินทุน การใช้เทคโนโลยีและการรวมเข้าด้วยกันจึงถือเป็นความท้าทายที่สำคัญสำหรับการใช้แนวคิด Smart Schools อย่างมีประสิทธิภาพ
การเปลี่ยนแปลงในด้านการเรียนการสอนจะนำเสนอความท้าทายสำหรับการใช้แนวคิด Smart Schools ที่ประสบความสำเร็จ บัดนี้ครูมักจะคุ้นเคยและสบายใจกับสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้แบบดั้งเดิมและความพยายามที่จะโน้มน้าวพวกเขาว่านักเรียนควรเรียนรู้จากการค้นพบอาจพบกับความต้านทานจากบางคนที่เชื่อว่าความรู้ไหลจากครู วิวัฒนาการการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับ ICT ในการสอนไม่ได้เป็นเพียงแค่การขอให้ครูเปลี่ยนความเชื่อในการสอนของพวกเขา เป็นกระบวนการต่อเนื่องของการทดแทนทีละน้อยจากประสบการณ์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป (Cloke and Sharif, 2001)
ความสำเร็จของโรงเรียนอัจฉริยะจะขึ้นอยู่กับนโยบายด้านเสียงและการบริหารจัดการทรัพยากรโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการโรงเรียนอัจฉริยะ (Smart Schools Management System - SSMS) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารจัดการและการบริหารจัดการควรช่วยให้อาจารย์ใหญ่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อหน้าที่หลักเกี่ยวกับการบริหารจัดการโรงเรียน เช่น การจัดตารางเรียนบทเรียนประจำปี ตารางกิจกรรม และบันทึกการศึกษาของนักเรียนทุกระบบ อย่างมีประสิทธิภาพคล่องและเหมาะสมก็เป็นความท้าทายที่ต้องเผชิญกับการใช้แนวคิด Smart Schools

วิธีการ
แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยคือ "แบบสอบถามทีมผู้บริหารโรงเรียน" ที่พัฒนาและตรวจสอบโดยผู้เขียน ได้รับการออกแบบมาให้ตอบโดยผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ช่วยอาวุโสของโรงเรียน
A : ICT ปัจจุบันที่ใช้ในการจัดการโรงเรียนส่วน
B : ผลกระทบของ ICT ต่อการจัดการของโรงเรียนหมวด
C : ผลกระทบของโรงเรียนอัจฉริยะต่อการจัดการโรงเรียนหมวด
D : สถิติประชากรของผู้ตอบแบบสอบถามหมวด
E : ICT สถานะของโรงเรียน
ส่วน A, B และ E มีคำถามเฉพาะหลายข้อซึ่งแต่ละคำตอบพร้อมกับคำตอบที่ได้รับการเข้ารหัสไว้ล่วงหน้าเพื่อเลือกเป็นคำตอบที่เป็นไปได้ ผู้ตอบแบบสอบถามต้องเลือก 'ใช่' หรือ 'ไม่' เพื่อระบุข้อตกลงหรือความไม่เห็นด้วยกับคำตอบที่ได้รับ นอกจากนี้ยังมีช่องว่างช่องสำหรับผู้ตอบเพื่อให้คำตอบเพิ่มเติมสำหรับคำถามที่กำหนด เรามีความเห็นว่าการผสมผสานระหว่างการตอบสนองที่ได้รับการเข้ารหัสไว้ล่วงหน้าและกล่องตอบรับแบบ open-ended สำหรับการตอบสนองที่โพสต์แล้วส่งผลให้มีแบบสอบถามที่เหมาะสมเนื่องจากในช่วงที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานโปรแกรม Smart Schools ยังอยู่ในวัยเด็ก ดังนั้นการตอบสนองที่เป็นไปได้ให้ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้อาจทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามที่สนใจตอบสนองได้อย่างรวดเร็วในการสำรวจ ส่วน C มีสองคำถามปลายเปิดในขณะที่ส่วน D มีคำถามที่ต้องการให้ผู้ตอบแบบสอบถามระบุรายละเอียดข้อมูลประชากรของตน
บทความนี้รายงานเฉพาะข้อมูลที่ได้รับในส่วน B และ C ของแบบสอบถาม คำถามที่มีในส่วน B และ C แสดงไว้ในภาคผนวก A ข้อมูลที่ได้จากส่วน A และ E อยู่นอกขอบเขตของการศึกษาและจะถูกรายงานเฉพาะในบทความที่ตั้งใจไว้เท่านั้น
ผลลัพธ์และการอภิปราย
1. แสดงคำตอบสำหรับคำถามเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการใช้ ICT ในโรงเรียน โดยทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าการใช้ ICT ในโรงเรียนของตนทำให้เกิดกาเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกที่เทคโนโลยีสามารถให้ได้ เปอร์เซ็นต์ที่สูงที่สุดถูกบันทึกโดยการเสริมสร้างวัฒนธรรม ICT (100%) การปลูกฝังวัฒนธรรม ICT เปลี่ยนการรับรู้และความคิดของครู  เป็นหนึ่งในความท้าทายหลักที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด เป็นการกระตุ้นให้สังเกตว่าการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว ครูที่สนับสนุนวัฒนธรรม ICT ควรไม่มีปัญหาในการปรับตัวแบบก้าวหน้าในรูปแบบการสอนของตนซึ่งก่อนหน้านี้เป็นการสอนแบบเน้นการสอนเป็นหลักและเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแทนที่จะเป็นวิธีการที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางร่วมกันซึ่งจำเป็นต้องใช้ประโยชน์จาก ICT ครูที่มีทัศนคติที่ดีต่อ ICTจะได้รับการจัดการในทางบวกต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน การปลูกฝังวัฒนธรรม ICT ในหมู่ผู้บริหารโรงเรียนได้นำไปสู่การรวมตัวของไอซีทีอย่างราบรื่นและการบูรณาการ ICT เข้ากับการจัดการโรงเรียน โรงเรียนดังกล่าวจะได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและแนวคิด Smart Schools ควรได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ว
2. การใช้  ICT โรงเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้มากขึ้น (96.8%) ลักษณะโดยเนื้อแท้ของ ICT ช่วยให้สามารถสนับสนุนและให้การเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่มากมายในอินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่การใช้ ICT ทำให้การเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวสามารถนำมาใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนได้ การดำเนินการนี้นำไปสู่การใช้ทรัพยากรโรงเรียน (96.8%) แนวคิด Smart Schools ได้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ซึ่งนักเรียนจะต้องมีส่วนร่วมกับความรู้ของตนเองผ่านการเรียนรู้แบบสำรวจและแบบสอบถามแหล่งเรียนรู้ เช่น เนื่องจากห้องทดลองคอมพิวเตอร์ห้องห้องสมุดและทรัพยากรสามารถเชื่อมโยงกับอินเตอร์เน็ตได้อย่างมากเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด
3. ความพยายามในการจัดเตรียมบทเรียนและการค้นหาการออกแบบและการบูรณาการสื่อการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ ๆ เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลามาก โรงเรียนต้องอยู่ในโรงเรียนนอกเวลาเรียนปกติเพื่อทำภารกิจที่ได้รับมอบหมาย แม้จะไม่มีการกำหนดเวลาพิเศษหรือแรงจูงใจทางการเงินให้แก่พวกเขาในฐานะค่าตอบแทน ระดับความมุ่งมั่นสูงสุดในหมู่ครูต้องมีเพื่อให้แน่ใจว่าแรงจูงใจของโรงเรียนอัจฉริยะจะประสบความสำเร็ผู้ตอบแบบสอบถามยังรู้สึกว่าไม่มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อซื้อซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพที่จำเป็นสำหรับการเรียนการสอน (77.4%) การใช้ ICT ใน Smart School ต้องใช้วัสดุการเรียนการสอนแบบโต้ตอบที่หลากหลายซึ่งรวมข้อความกับแอตทริบิวต์สื่ออื่น ๆ เช่นเสียงกราฟิกและภาพเคลื่อนไหวในบริบทที่แท้จริงและในโลกแห่งความเป็นจริงเพื่อให้นักเรียนสามารถสำรวจและสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ เงินทุนสำหรับการซื้อซอฟต์แวร์ดังกล่าวมีความจำเป็นสำหรับการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ต้องทำตามขั้นตอนที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับความท้าทายนี้เพื่อให้มีซอฟต์แวร์ที่มีความเหมาะสมและเหมาะสมสำหรับความสำเร็จในการใช้แนวคิด Smart Schools
4. การตอบรับเชิงลบ / การสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ (32.3%), ความต้องการขั้นตอนที่เข้มงวดที่กำหนดโดยการใช้เครื่องมือ ICT (32.3%) และปัญหาทางเทคนิค (22.6% ) อย่างไรก็ตามแม้ว่าการตอบสนองจะมีการบันทึกเปอร์เซ็นต์ต่ำกว่า แต่ก็ไม่เคยมี แต่เน้นถึงความสำคัญของความท้าทายที่โรงเรียนเผชิญกับการใช้ ICT ไม่ต้องสงสัยเลยว่าความท้าทายเหล่านี้มีความสำคัญและต้องนำมาพิจารณาเพื่อให้มีขั้นตอนที่เหมาะสมเพื่อลดความท้าทายที่โรงเรียนต้องเผชิญ ดังนั้นการวิจัยในเชิงลึกจึงจำเป็นต้องหาปัจจัยที่มีส่วนช่วยในการยับยั้งหรือขัดขวางความสำเร็จและการใช้แนวคิด Smart Schools อย่างราบรื่น
5. ผู้ตอบแบบสอบถามเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงที่น่าประทับใจเพียงอย่างเดียวของผู้ตอบแบบสอบถามตามการใช้ Smart Schools คือประสิทธิภาพในการบริหารครูและผู้บริหารนักเรียนที่เพิ่มขึ้น (48.4%)
6. ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของผู้บริหารโรงเรียนระดับสูงและไม่มีผู้ปฏิบัติงานในห้องเรียนที่แท้จริงในแนวคิด Smart Schools มีส่วนร่วมในการให้คำตอบเหล่านี้ เช่นนี้การวิเคราะห์ข้างต้นเป็นมุมมองของบุคลากรการจัดการโรงเรียนและในระดับหนึ่งบางส่วนของอคติที่มีอยู่เท่าที่การวิเคราะห์การปฏิบัติในชั้นเรียนเป็นห่วง อาจได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันหากข้อมูลได้มาจากข้อมูลเชิงสังเกตเกี่ยวกับการปฏิบัติในห้องเรียนที่เกิดขึ้นจริง
ดังนั้นการศึกษาเพิ่มเติมจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาการปฏิบัติในห้องเรียนที่เกิดขึ้นจริงและขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน การศึกษาโดย Atan et al. (2002) ที่ศึกษาด้านการสอนและการสื่อสารของซอฟต์แวร์การเรียนการสอนและเบราเซอร์จะเป็นพื้นฐานที่เป็นประโยชน์สำหรับการวิจัยในอนาคตเกี่ยวกับขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงทางด้านการสอนที่เกิดขึ้นในโรงเรียนสมาร์ทมาเลเซียในระดับห้องเรียน
สรุป
บทความนี้เน้นประเด็นที่สำคัญหลายประการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายจากการใช้ ICT และการนำแนวคิด Smart Schools ไปใช้ในระบบโรงเรียนที่มีอยู่ ด้วยการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของ กระทรวงศึกษาธิการ และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องความพยายามที่เป็นนวัตกรรมนี้ได้ปลูกฝังวัฒนธรรม ICT ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและได้จัดเตรียมทักษะและความคิดที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนแนวคิด Smart Schools ความท้าทายที่สำคัญคือการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเดิมไปสู่สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ซึ่งจำเป็นต้องให้ครูเปลี่ยนการสอนการสอนของตนจากการสอนความรู้ไปสู่การสร้างความรู้ ในขณะที่กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทสำคัญและผู้ริเริ่มของ Smart Schools ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างชัดเจนต้องมีการมุ่งมั่นในทุกระดับ ในขณะที่ผู้บริหารหรือหัวหน้าของแต่ละสถาบันในระดับหน่วยงานระดับรัฐบาลกลางระดับรัฐและเขตการปกครองเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินการ แต่ก็เห็นได้ชัดว่าความสำเร็จต้องได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่และชุมชนอย่างเต็มที่
การนำไปประยุกต์ใช้

- แนวคิด Smart Schools ได้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ซึ่งนักเรียนจะต้องมีส่วนร่วมกับความรู้ของตนเองผ่านการเรียนรู้แบบสำรวจและแบบสอบถาม แหล่งเรียนรู้ เช่น สามารถเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ตกับห้องทดลอง ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดได้ด้วยตนเอง

- ICT ช่วยให้สามารถจัดตารางการเรียนการสอนของครูได้อย่างมีประสิทธิภาพและข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนและครูสามารถทำเป็นรูปแบบฐานข้อมูลได้

- ICT ยังช่วยปูทางให้สภาพแวดล้อมในการติดต่อสื่อสารที่ดีและกว้างขึ้นสำหรับโรงเรียน ไม่เพียง แต่ระหว่างครูในโรงเรียนเดียวกันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงโรงเรียนในระดับอำเภอรัฐและรัฐบาลกลางด้วย

วันเสาร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ภาระงานในรายวิชา

กำหนดการกิจกรรมต่างๆ
1. ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารการจัดการจัดระบบงาน ECT
มอบหมายงานให้ไปศึกษาดูงานองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT 
https://krumonryz.blogspot.com/2017/09/1.html
2. ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT

3. สร้าง Blog
https://krumonryz.blogspot.com/4. สัปดาห์ที่ 4 ฝึก SWOT Analysis

4. ฝึกเขียนโครงการ
https://krumonryz.blogspot.com/2017/10/2561.html

5. ฝึก SWOT Analysis ฝ่ายเทคโนโลยีการศึกษา องค์กรของตนเอง

6. ค้นคว้าบทความวิชาการ/วิจัย/แนวคิดทางการบริหารจัดการงาน ECT ที่เป็นภาษาอังกฤษ และแปล พร้อมเขียนการประยุกต์ใช้งานเพ่ิมเติมของตนเองให้ชัดเจน


วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2560

โครงการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อยืดอายุการใช้งานและพัฒนาประสิทธิภาพประจำปี 2561

โครงการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อยืดอายุการใช้งานและพัฒนาประสิทธิภาพประจำปี 2561 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดคานหาม <<กดตรงนี้  ดูแบบ PDF

1. ชื่อโครงการ
   โครงการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อยืดอายุการใช้งานและพัฒนาประสิทธิภาพประจำปี 2561
2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
   ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. หลักการและเหตุผล
       เนื่องด้วยโรงเรียนวัดคานหาม มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์จำนวน 1 ห้อง มีคอมพิวเตอร์จำนวน 22
เครื่อง และ มีอายุงานตั้งแต่ ปี พ.ศ.50 จำนวน 5 เครื่อง, ปี พ.ศ.55 จำนวน 12 เครื่อง, ปี พ.ศ.59 จำนวน 5
เครื่องมีการใช้งานของนักเรียนโรงเรียนวัดคานหามที่เข้ามาใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 รวม 9 ชั้นเรียน มีปัญหาในการใช้งานคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นเปิดไม่ติดเครื่องร้อง จอภาพไม่ทำงาน ฯลฯ (โรงเรียนวัดคานหาม, 2560)
โดยที่โรงเรียนวัดคานหามมีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักในการทำงาน เช่นการสอน
การทำงานสื่อการสอน รวมไปถึงการใช้งานของนักเรียนซึ่งมีการใช้งานในการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ
แต่การใช้งานนั้นขาดการดูแลรักษาที่เหมาะสม
       ซึ่งโดยปกติอายุในการใช้งานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มักมีอายุในการใช้งานที่จำกัดจึงทำให้คอมพิวเตอร์มีการอายุการใช้งานในระยะเวลาจำกัดที่สั้นเกินมาตรฐานที่กำหนดไว้ตามผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบคอมพิวเตอร์จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลายอย่างรวมกัน และด้วยงบประมาณที่จำกัดตามนโยบายของผู้บริหารสถานศึกษาทำให้ไม่สามารถจัดซื้อใหม่หมดได้ ทำให้การเรียนการสอนขัดข้องและไม่เกิดความต่อเนื่องและจำเป็นจะต้องมีการบำรุงรักษาตลอดทั้งปี
4.วัตถุประสงค์
   1. บำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อยืดอายุการใช้งาน
   2. เพื่ออัพเกรด อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ให้มีความทันสมัยมากขึ้น
รองรับการใช้งานของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน
 5.เป้าหมาย
    เชิงคุณภาพ
            ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์มีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเพื่อใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    เชิงปริมาณ
           ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์มีคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ต่อพ่วงที่สามารถใช้งานได้ 100 %

6. วิธีดำเนินงาน
ขั้นตอน/กิจกรรม 2560-2661

10. วิธีการติดตามและประเมินผล
     10.1 จัดทำเอกสารสรุปผลโครงการ

      10.2 การประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนในการใช้งานคอมพิวเตอร์
11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
      11.1 สถานศึกษาได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
      1.2 เครื่องคอมพิวเตอร์เพียงพอต่อการใช้งานของนักเรียน
      12. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
          1. Spec. คอมพิวเตอร์ต่ำ ทำให้ยากต่อการจัดหาอุปกรณ์ ในการนำมาปรับปรุงพัฒนา
          2. งบประมาณในการดำเนินงานที่ดีอยู่อย่างจำกัด
13. ข้อเสนอแนะ
     1. ควรดำเนินการจัดหางบประมาณเพื่อจัดซื้อคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่
แทนรุ่นเก่าที่ไม่สามารถหาซื้ออุปกรณ์ และอัพเกรดได้มีประสิทธิภาพเพียงพอในการใช้งาน


วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2560

แนวคิดการจัดการยุคการบริหารสมัยใหม่ ( Modern Management )

แนวคิดการจัดการยุคการบริหารสมัยใหม่ ( Modern Management )
              แนวคิดในยุคนี้เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ 1950 – ปัจจุบัน ซึ่งในขณะนี้เศรษฐกิจ และธุรกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว
ความสลับซับซ้อนในการบริหารการจัดการก็มากขึ้น เพราะฉะนั้นการจัดการสมัยใหม่ จึงต้องใช้หลักทาง

              คณิตศาสตร์มาช่วยในการตัดสินใจ ตลอดจนการจัดการเชิงระบบมาช่วย แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างเช่น คนเป็นระบบ เพราะในร่างกายของคนเรานั้นประกอบด้วย อวัยวะ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างอัตโนมัติ ระบบจึงถือเป็น Grand Theory เป็นทฤษฎีขนาดใหญ่ เพราะมีระบบย่อยหรือสิ่งต่าง ๆ มากมาย เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ขององค์การไม่ว่าภายในหรือภายนอก ล้วนแต่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ดังนั้นการบริหารการจัดการจึงต้องปรับตัวให้มีความสมดุลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าว จึงจะทาให้องค์การเติบโต อยู่รอด และสัมฤทธิผลตามเป้าหมาย
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
การศึกษาภาวะผู้นำอย่างมีระบบได้ดำเนินการต่อเนื่องมาร่วมร้อยปี เกิดมุมมองและความเชื่อต่าง ๆ ที่พัฒนามาเป็นทฤษฎีภาวะผู้นำ จำนวนมากมาย ในที่นี้จะแบ่งเป็นกลุ่มทฤษฎีและยกมาเป็นตัวอย่างเพียงบางทฤษฎี เริ่มด้วยทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นำ กลุ่มทฤษฎีเชิงพฤติกรรม ตัวอย่างบางทฤษฎีเชิงสถานการณ์ ทฤษฎีผู้นำเชิงวีรบุรุษ หรือภาวะผู้นำใหม่โดยเสน่หาบางทฤษฎี และประเด็นที่เป็นแนวโน้ม ที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำในอนาคต
ความหมายของทฤษฎีภาวะผู้นำ
มีคำสำคัญอยู่ 2 คำที่จำเป็นต้องเข้าใจในเริ่มแรก ก็คือคำว่า “leadership” ซึ่งมักเรียกว่า “ภาวะผู้นำ” หรือ “การเป็นผู้นำ” กับอีกคำหนึ่งคือ “Management” ซึ่งเรียกว่า “การบริหาร” หรือ “การบริหารจัดการ” ทั้งสองคำ มีความหมายแตกต่างกัน
ทฤษฏีภาวะผู้นำ
ทฤษฏีภาวะผู้นำ ที่สำคัญ มี 3 ทฤษฏี คือ
1.) ทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำหรือทฤษฎีอุปนิสัย (Trait Theory)
หลัก บุคคลเป็นผู้นำเพราะ มีบุคลิกลักษณะ ความสามารถที่เหมาะสมกับการเป็นผู้นำ (รูปร่างหน้าตา สติปัญญา วิสัยทัศน์มีความสามารถเหนือคนอื่น ความประพฤติดี มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี )
โดยคุณลักษณะที่เด่นชัด คือ มีความรู้ความสามารถในการงาน   เข้าร่วมกิจกรรมด้วยใจรัก  ได้รับการยอมรับจากสมาชิก สมาชิกเต็มใจทำงานร่วม
2. ทฤษฎี สถานการณ์ (Situation Theory)
หลักการ ผู้นำเกิดจากสถานการณ์บางอย่างผลักดันให้บุคคลต้องแสดงบทบาทผู้นำ หรือต้องพัฒนาลักษณะผู้นำขึ้นมา (ฮิตเลอร์ มุสโสลินี หรือ เหมาเจ๋อตุง) ทฤษฏีนี้ยอมรับความสัมพันธ์ของผู้นำและกลุ่ม ผู้นำต้องครองใจปวงชนผู้แวดล้อม
3. ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ (Interaction Theory)
หลักการ ความเป็นผู้นำเกิดจากปฏิสัมพันธ์ ความเป็นผู้นำ+สถานการณ์
(วิเคราะห์จากคุณสมบัติผู้นำ และ สถานการณ์) เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน ความเป็นผู้นำก็เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ผู้นำจึงมีได้หลายคน ผลัดเปลี่ยนกันไป
ทฤษฎีอื่นๆ ในเรื่อง ภาวะผู้นำ โดย Terry สรุป ไว้ 4 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีสนับสนุน (supporting Theory) เป็นทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยผู้นำเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงาน มีโอกาสร่วมวางแผนและตัดสินใจในพันธกิจขององค์การ (ผู้นำต้องยอมรับในความรู้ความสามารถของผู้ร่วมงาน)
2. ทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological Theory) มีความเชื่อว่าผู้นำต้องแสดงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ร่วมงานโดยมุ่งจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
3. ทฤษฎีทางจิตวิทยา ( Psychological Theory) มีความเชื่อว่าผู้นำต้องพัฒนาระบบสร้างแรงจูงใจ มีจิตวิทยาสูง ใช้เทคนิคกระตุ้นให้บุคคลปฏิบัติงานด้วยจิตสำนึกรับผิดชอบต่อองค์การ
4. ทฤษฎียึดถืออำนาจ (Autocratic Theory) มีความเชื่อในการใช้อำนาจ ของตนเองในการบริหาร สั่งการ บีบบังคับให้ปฏิบัติงาน โดยไม่ต้องการเหตุผลในการอธิบายความ
                                                           W. Chan Kim
ยุคทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่ (Modern Management Approaches)
-Deming cycle
เป็นวงจรที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพในวงการอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น
-
หลักการจัดการ 14 ข้อ
-
ทฤษฎีความแปรปรวน 
-
โรคและบาปที่ร้ายแรง 
-
บทบาทของผู้บริหาร 
ผลงาน
              6ปีต่อมา โด่งดังสุดๆ กับ The practice of management จากหนังสือเรื่อง Concept of the corporationซึ่งเป็นหนังสือการจัดการองค์กรสมัยใหม่ที่นำมาประยุกต์ใช้จนถึงปัจจุบันหนังสือของเขาได้สอดแทรกบทเรียนที่เกี่ยวกับ
เรื่องของการทำอย่างไรองค์กรถึงจะสามารถสร้างคนที่ดีที่สุดขึ้นมาได้และคนงานจะสามารถตระหนักถึงสภาพชุมชนได้อย่างไร
Concept of the corporation
The end of economic man, 
the origin of totalitarianism
Michael Eugene Porter
-
จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิศวกรรมอากาศยานและเครื่องกลจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ต่อมาได้เปลี่ยนสายการเรียนในด้านการบริหาร โดยศึกษา MBA และจบปริญญาเอกในสาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ จาก Harvard University 
-
แนวคิดของ Porter นั้น ได้เป็นหลักการพื้นฐานในตำราทางด้านการจัดการและกลยุทธ์ทุกเล่มในปัจจุบัน
-
ล่าสุดเขาได้สนใจและศึกษาในอุตสาหกรรมด้านสาธารณะสุขของสหรัฐอเมริกาโดยได้เข้าร่วมเขียนหนังสือกับอลิธซาเบธ ทีสเบิร์ก ในด้านการพัฒนากลยุทธ์รวมถึงเขียนกรอบงานที่จะใช้ปรับเปลี่ยนระบบประกันสุขภาพของสหรัฐอเมริกา -ผลงานล่าสุดในปี 2014 ของ porter คือบทความเรื่อง How Smart , Connected Products are Transforming Competition

ผลงาน
How Smart , Connected Products are Transforming Competition
  Clayton Christensen 
-
เป็นศาสตราจารย์ประจำที่ Harvard Business school 
-
ได้อันดับ 1 ของการจัดอันดับ ด้านการบริหารของโลก ปี 2011,2013
-
ปัจจุบันได้รับการยกย่องให้เป็นนักคิดทางด้านการจัดการอันดับ 1 ของโลก
-
ผลงานที่โด่งดัง คือ เขียนหนังสือชื่อ the Innovation Dilemma ซึ่งตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาแนวคิดในเรื่อง นวัตกรรมเชิงประทุ ก็เริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้น
-
และchristensenเป็นผู้ให้กำเนิดคำว่า นวัตกรรมเชิงประทุ>>ซึ่ง นวัตกรรมนี้จะไม่มีความซับซ้อน
และมีราคาถูกกว่าแต่เชื่อถือได้และใช้ง่ายกว่าผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในตลาดหลักและจะค่อยๆเริ่มเจาะเข้าไปในตลาดเฉพาะกลุ่มnicne maket หรือตลาดรองเมื่อระยะเวลาผ่านไปนวัตกรรมนี้จะค่อยๆเข้าไป
และตอบความสนองต้องการของลูกค้าและเข้าไปแทนที่ของผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ในตลาดหลัก

นอกจากนี้ยังผลงานที่โด่งดังอีกมากมายและผลงานล่าสุดในปี2012-2013 ได้เขียนบทความและหนังสือ เรื่อง how will you measure your life?และ the power of Everyday Missionaries

The Innovation Dilemma
How will you measure your life?
-
เป็นนักทฤษฎีด้านการบริหารชาวเกาหลี
-
จบการศึกษา University of Michigan
-
โด่งดังเป็นที่รู้จักจากผลงาน กลยุทธ์บลูโอเชี่ยน
                 เป็นหลักการที่พยายามหักล้างแนวคิดทางด้านกลยุทธ์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน 
โดยเสนอว่าแทนที่จะมุ่งลอกเลียนแบบและเอาชนะคู่แข่ง ถ้าองค์กรต้องการที่จะเติบโตจริงๆ จะต้องแสวงหาทะเลแห่งใหม่ แทนที่จะเป็นทะเลที่แดงด้วยเลือด (Red Ocean) แบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเขาก็อุปมาเหมือนกับเป็น Blue Ocean Strategy

โดยมีแนวทางในการวิเคราะห์อยู่ 4 ข้อได้แก่
1.
การยกเลิก (Eliminated) ของบางอย่างที่เราเคยคิดว่าลูกค้าต้องการ แต่จริงๆแล้ว ในปัจจุบันลูกค้าอาจจะไม่มีความต้องการเลยก็ได้
2.
การลด (Reduced) การนำเสนอคุณค่าบางอย่างให้ต่ำกว่าอุสาหกรรม ซึ่งเราอาจจะเคยคิดว่าคุณค่านั้นๆ ลูกค้ามีความต้องการมาก แต่จริงๆอาจจะไม่มากอย่างที่เราคิด
3.
การเพิ่ม (Raised) ปัจจัยบางอย่างให้สูงกว่าระดับอุตสาหกรรม
4.
การสร้าง (Created) คุณค่าบางประการที่ไม่เคยมีการนำเสนอ ในอุตสาหกรรมมาก่อน


หลักการของ Blue Ocean Strategy
                            นอกจากนี้ Chan Kim ยังมีข้อเตือนใจที่สำคัญในการใช้แนวคิดนี้ คือ ต่อให้เราสร้าง Blue Ocean ขึ้นมาได้ ไม่ช้าคู่แข่งขันใหม่ๆก็อยากจะเข้ามา และถ้าไม่ระวัง สุดท้ายก็จะกลายเป็น Red Ocean เหมือนเดิม ดังนั้น ถ้าต้องการที่จะประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่องจะต้องคิดหาทางสร้าง Blue Ocean ขึ้นมาใหม่เรื่อยๆ

อ้างอิง: https://prezi.com/t-uzlmdpgycf/modern-management-approache/